ชื่อเจ้าของโครงการ Karis Matchaparn

เบอร์โทร 0803017572

E-mail kariz.matchaparn@gmail.com

รายละเอียดโครงการ

Step 1 ข้อมูลทั่วไป

รายละเอียดของผลงาน และความเป็นนวัตกรรม

เนื่องจากกิจกรรมนอกสถานที่ที่จัดขึ้นโดยองค์กร Mega Event โดยส่วนมากจะมีปัญหาจากการจัดงานคือผู้เข้าร่วมงานมีจานวนมากแต่เนื่องจากกิจกรรมที่จัดเป็นกิจกรรมนอกสถานที่ ซึ่งการประเมินในแต่ละครั้งที่จัดกิจกรรมจะทาการนับจานวนคนโดยการจ้างคนมายืนนับผู้เข้าร่วมที่พบเห็น แต่ไม่สามารถทาการประเมินได้ว่าผู้ที่เข้ามาในงานเป็นผู้เข้าร่วมงานจริงๆ หรือเป็นเพียงผู้ที่เดินทางผ่านมาเท่านั้น อีกทั้งการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงานยังสามารถเก็บได้เฉลี่ยเพียง 400 คนต่อ 100,000 ซึ่งเป็นสัดส่วนที่น้อยต่อการนาไปประเมินและหาแนวทางการปรับปรุงกิจกรรมในอนาคต Inevent คือแพลตฟอร์มที่พัฒนาขึ้นบนรูปแบบของ Web Application ที่จะเข้ามาประยุกต์การจัดกิจกรรมให้อยู่ในรูปแบบของพื้นที่การหาสังคมใหม่ๆ โดยผู้เข้าร่วมงานจะได้รับแผนที่และข้อมูลของงานภายในแอพลิเคชั่น หากผู้เข้าร่วมงานเข้ามาภายในงานและทาการสแกน QR code เพื่อร่วมเล่นเกมกับแต่ละบูธพร้อมกับทาแบบประเมินอย่างง่ายเพื่อรับแต้มสาหรับนาไปแลกของรางวัลภายในงาน ซึ่งจะทาให้ผู้เข้าร่วมได้รับประสบการณ์ใหม่ในการเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมทั้งผู้จัดงานเองก็จะได้ผลประเมินและความสนใจจากผู้เข้าร่วมงานได้จริงๆ

เอกสารอ้างอิง (ถ้ามี)

แผนธุรกิจที่คาดว่าจะดำเนินการในอนาคต

INEVENT จะเปิดให้บริการกับ event organizer ในรูปแบบของค่าบริการต่อครั้ง และจะทำการ deal promotion กับ supplier ต่างๆ รอบงาน ทำให้สามารถคิดค่า commission ของการซื้อขายบนแพลตฟอร์มได้

หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน

TCEB

Step 2 ข้อมูลโครงการ (ระหว่างการพัฒนา) ปัจจุบัน

โครงการ (ระหว่างการพัฒนา) ปัจจุบัน

โครงการอยู่ในระหว่างทดสอบชิ้นงาน

มีผลการทดสอบโครงการ

อยู่ในระหว่างทดสอบชิ้นงาน

ผลการทดสอบ

ครั้งที่ รายละเอียด รูปภาพ

แผนธุรกิจ

Step 3 Biz Model Prototype

แนบภาพรูป

รายละเอียดข้อมูลการพัฒนาชิ้น

INEVENT ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นแพลตฟอร์มที่ช่วยเหลือผู้ที่เข้าร่วมงาน event ต่างๆ โดยมี feature ดังนี้
1. การแสดง event ที่จัดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นงานที่จัดขึ้นแล้วในอตีด กาลังจัด หรืองานที่กาลังจะถูกจัดขึ้น พร้อมทั้งแสดงคาอธิบาย ตารางเวลาและพื้นที่ของงานคร่าวๆ สาหรับเป็นข้อมูลในการตัดสินใจเข้าร่วมงาน
2. Assistance สาหรับให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของงาน ไม่ว่าจะเป็นแผนที่ของงานซึ่งสามารถแสดงตาแหน่งล่าสุดที่มีการ check-in ของผู้เข้างาน ข้อมูลรายละเอียด ตารางเวลา โซนการจัดแสดงและองค์ประกอบของโซนเหล่านั้น นอกจากนี้ในแต่ละจุดของการแสดงยังมีการแสดงรายละเอียดของแต่ละจุดซึ่งมีการแสดงผลแบบ interactive บน Web Application ได้
3. การสร้างระบบ community เพื่อเป็นพื้นที่ในการค้นหาสังคมที่ผู้เข้าร่วมงานสนใจและสามารถพูดคุยหรือนัดหมายในบริเวณต่างๆ ของงาน ซึ่งจะมีส่วนหน้าการแชทและการปักหมุดรูปแบบต่างๆ ลงไปในแผนที่ส่วนกลางบน Web Application พร้อมทั้งสามารถแสดงจุดการนัดหมายเหล่านี้ให้กับผู้เข้าร่วมงานคนอื่นเพื่อชวนให้เข้าร่วมได้
4. การสร้างระบบ Marker ภายในงาน โดยจะมีการนาเสาหรืออุปกรณ์ในลักษณะของ Marker ไปตั้งภายในงานเพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานมาทาการสแกน Marker ซึ่งการสแกนแต่ละครั้งจะทาให้ผู้เข้าร่วมงานสามารถอัพเคตตาแหน่งล่าสุดของตนเองและเห็นรายละเอียดของจุดแสดงโดยรอบได้ชัดเจนกว่าจุดที่อยู่ไกลๆ สามารถเห็นการนัดหมายของ community ที่อยู่โดยรอบและผู้เข้าร่วมงานมีโอกาสได้รับ reward หรือกิจกรรมที่จัดขึ้นภายในงานซึ่งจะเป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เข้าร่วมงาน
5. ระบบ Reward เป็นระบบที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นส่วนสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้เข้าร่วมงานมาทาการสแกน Marker และให้ feedback โดยในแต่ละครั้งที่ผู้เข้าร่วมงานทาการสแกน Marker ผู้เข้าร่วมงานจะได้รับ coin, vouchers, และ activity ซึ่งผู้เข้าร่วมงานสามารถทาการตอบ feedback เพื่อขอ reward ที่มากขึ้นได้ อีกทั้งเมื่อผู้ใช้งานเก็บ coin จนถึงระดับหนึ่งจะสามารถนา coin ไปแลกเป็น reward ที่มากขึ้นได้ โดย reward ที่นามาใช้ในระบบจะเป็น promotion จากทั้งทาง exhibitor และ supplier ต่างๆ ที่อยู่โดยรอบงานเช่น promotion กาแฟลดราคา 10% หากนา coin มาแลก 100 เหรียญเป็นต้น
6. ระบบ Feedback เป็นระบบที่สร้างขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงานให้กับทางผู้จัดงาน โดย feedback จะถูกนามาเสนอให้กับผู้เข้าร่วมงานได้ 2 ทาง ทางแรกคือการเสนอเพื่อรับ reward เพิ่มเติมจากกิจกรรมและทางที่สองคือส่วนของการสร้าง contribution บนระบบ community ซึ่ง feedback ที่ถูกเสนอในทั้งสองช่องทางนี้จะมีความแตกต่างกันในด้านของจานวนข้อและความลึกของคาถาม สุดท้าย feedback ทั้งหมดจะถูกสรุปไปที่ผู้จัดงานเพื่อใช้ในการพัฒนางานต่อไป
7. หน้า Profile เป็นหน้าสาหรับการแสดงข้อมูลของผู้เข้าร่วมงาน ซึ่งสามารถสรุปกิจกรรมที่ผู้ใช้งานเคยเข้าร่วมเพื่อนาไปใช้เป็นประวัติการเข้าร่วมงานได้

หน่วยงานที่ร่วมสนับสนุน

TCEB

ข้อมูลเพิ่มเติมอื่นๆ

ระยะเวลาในการพัฒนา

3 เดือน

Step 4 การดำเนินงานต่อไปของโครงการ

ครั้งที่ การดำเนินงาน
1 ทดสอบชิ้นงาน #1
2 ปรับปรุงชิ้นงาน #1
3 ทดสอบชิ้นงาน #2
4 ปรับปรุงชิ้นงาน #2
5 นำไปใช้งานในอีเวนท์จริง

Step 5 สิทธิบัตร

ผลิตชิ้นงานสู่ตลาดวันที่

16 กันยายน 2561

จดสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร เลขที่

ขายชิ้นงานแล้ว / จำนวน

จดบริษัท

Step 6 ผลงานปัจจุบัน

ปัจจุบันธุรกิจเป็งนอย่างไร

กำลังอยู่ในช่วงทดสอบทั้งในด้านของ Problem-Solution fit รวมไปถึง UX UI ของงาน เพื่อให้เข้ากับ user ได้มากที่สุด

ปัญหาที่พบ

การติดต่อเพื่อนำชิ้นงานไปทดสอบ ต้องใช้เวลานาน ทำให้สามารถนำชิ้นงานไปทดสอบได้ช้า

สิ่งที่ต้องการพัฒนาต่อ

ระบบ backend ที่มีประสิทธิภาพ รวมไปถึงความทนทานของระบบเพื่อรอบรับผู้ใช้งานได้เป็นจำนวนมาก

Thailand Innovation Awards 2018

INEVENT

ข้อเสนอแนะ

Validation code:

 
© 2018 NIA. All Rights Reserved